ตัวเลือกการจัดการนํ้าหนักที่ได้รับการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์
มีหลายวิธีในการรักษาภาวะโรคอ้วน ไม่ว่าจะเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ยาลดน้ำหนัก หรือการผ่าตัดเพื่อรักษาโรคอ้วน
ดัชนีมวลกาย (BMI) ของคุณคือตัวเลขที่คํานวณจากนํ้าหนักและส่วนสูงของคุณ โดยวิธีนี้ไม่ได้เป็นวิธีการคำนวนหาไขมันในร่างกาย แต่เป็นวิธีการคำนวนอย่างง่ายที่จะประเมินสุขภาพของคุณอย่างคร่าว ๆ ว่ามีสุขภาพดีหรือไม่
คุณสามารถใช้ค่าดัชนีมวลกายเป็นจุดเริ่มต้นพูดคุยกับแพทย์ในเรื่องของนํ้าหนัก สุขภาพ และทางเลือกในการรักษาโรค
สิ่งสําคัญที่ควรทราบคือ BMI เป็นการวัดที่มีประโยชน์สําหรับคนส่วนใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 18 ปีขึ้นไป แต่เป็นเพียงค่าการประมาณเท่านั้น เนื่องจากไม่ได้นำปัจจัยเรื่องอายุ ชาติพันธุ์ เพศ และองค์ประกอบของร่างกายมาร่วมคำนวณด้วย
การมีนํ้าหนักตัวน้อยเกินไปอาจเป็นสัญญาณบ่งบอกว่าคุณรับประทานอาหารไม่เพียงพอหรือ คุณอาจป่วย หากคุณมีนํ้าหนักน้อยเกินไป โปรดติดต่อ แพทย์ของคุณเพื่อการประเมินเพิ่มเติม
แพทย์แนะนําว่าคุณควรรักษานํ้าหนักตัวให้อยู่ในภายใน ช่วงน้ำหนักนี้
* องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้จัดประเภทคําว่า ‘pre-obesity’ (อ้วนระยะเริ่มต้น) ว่าเป็นภาวะ ‘น้ำหนักเกิน’
ผู้ที่จัดอยู่ในประเภทนี้อาจมีความเสี่ยงที่จะพัฒนาไปสู่ภาวะโรคอ้วน นอกจากนี้ ยังอาจมีความเสี่ยงที่จะนำไปสู่ปัญหาสุขภาพอื่น ๆ หรือปัญหาทางสุขภาพในปัจจุบันอาจแย่ลง คําแนะนําคือปรึกษาบุคลากรทางการแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในการจัดการโรคอ้วน
มีคำแนะนำสองข้อสำหรับผู้ที่จัดอยู่ในประเภทอ้วนระยะเริ่มต้น ตามแนวทางการปฎิบัติทางคลินิกในยุโรปและอเมริกา เพื่อจัดการกับภาวะโรคอ้วนในผู้ใหญ่
คําแนะนําสําหรับ ผู้ที่มีระดับ BMI อยู่ระหว่าง 23 และ 25 และผู้ที่ไม่มีปัญหาสุขภาพเนื่องจากนํ้าหนักตัว (เช่น ความดันโลหิต สูงหรือคอเลสเตอรอลสูง) เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำหนักกลับมาเพิ่มขึ้นอีก ด้วยการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพและออกกําลังกายเพิ่มขึ้น
สําหรับผู้ที่มีค่า BMI ระหว่าง 23 และ 25 และมีปัญหาสุขภาพเนื่องจาก นํ้าหนักตัว แนะนำให้ลดนํ้าหนักโดยผสมผสานการจัดการรูปแบบการใช้ชีวิตใหม่และใช้ยาลดความอ้วนที่จ่ายโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญร่วมด้วยเพื่อลดให้ได้นํ้าหนักตามเป้าหมายและปรับปรุงสุขภาพและคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น
ผู้ที่มีระดับ BMI ตั้งแต่ 30 ขึ้นไปอาจมีภาวะโรคอ้วน ซึ่งหมายถึงการสะสมของไขมันที่ผิดปกติหรือมากเกินไปซึ่งอาจส่งผลเสียต่อ สุขภาพ ปัจจุบัน องค์กรด้านสุขภาพจํานวนมากยอมรับว่าภาวะโรคอ้วนเป็นโรคเรื้อรังแต่สามารถจัดการได้
องค์การอนามัยโลกและองค์กรด้านสุขภาพอื่น ๆ จําแนกภาวะโรคอ้วนออกเป็นสามกลุ่ม:
การจําแนกประเภทภาวะโรคอ้วน | ดัชนีมวลกาย |
ประเภท I | 25.0–29.9 |
ประเภท II | 30 ขึ้นไป |
ช่วงของค่า BMI จะขึ้นอยู่กับผลกระทบที่ไขมันในร่างกายส่วนเกินมีต่อ สุขภาพของแต่ละบุคคล อายุ และความเสี่ยงต่อการเกิดโรค เมื่อค่า BMI เพิ่มขึ้น ความเสี่ยงต่อโรคบางอย่างก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน
ขอแนะนําให้ผู้ที่มีค่า BMI ตั้งแต่ 25 ขึ้นไปให้ ปรึกษาบุคลากรทางการแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องการจัดการภาวะโรคอ้วนเพื่อ วินิจฉัย ประเมินความเสี่ยง และรักษาภาวะโรคอ้วนรวมถึง ภาวะแทรกซ้อนด้านสุขภาพเนื่องจากนํ้าหนักตัว
เป้าหมายของการจัดการและการรักษาภาวะโรคอ้วนไม่ใช่เพียงการ ลดนํ้าหนักเท่านั้น แต่ยังเป็นการทําให้สุขภาพดีขึ้นและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อน ทางสุขภาพอื่น ๆ ด้วย การลดนํ้าหนักแม้เพียงเล็กน้อย อย่างเช่น นํ้าหนักตัวร้อยละห้าขึ้นไปและรักษานํ้าหนักไม่ดีดกลับขึ้นมาอีก อาจช่วยทำให้สุขภาพโดยรวมดีขึ้นได้ ในขณะเดียวกันก็ลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากนํ้าหนักตัว
มีทางเลือกในการรักษา ภาวะโรคอ้วนที่มีงานวิจัยรองรับจํานวนมากที่อาจจะนำมาแนะนําได้ตามความต้องการของแต่ละบุคคล สภาวะ สุขภาพ และการมีหรือไม่มีภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากนํ้าหนักตัว การรักษาอาจรวมถึงทางเลือกต่อไปนี้รวมกัน**:
* โดยทั่วไปแล้วการผ่าตัดเพื่อรักษาโรคอ้วนจะแนะนำสําหรับ ผู้ที่มี BMI เกินกว่า 32.5 และมีภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากนํ้าหนักตัว นอกจากนี้ โดยทั่วไปยังเป็นตัวเลือกสำหรับ ผู้ที่มีค่า BMI ตั้งแต่ 37.5 kg/m2 ขึ้นไป
** ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ: ข้อมูลนี้ไม่สามารถใช้แทนคําแนะนําของผู้ให้บริการทางแพทย์ได้ หากคุณมี คําถามใด ๆ เกี่ยวกับสุขภาพของคุณก็ควรติดต่ออายุรแพทย์ของคุณหรือผู้ให้บริการท่านอื่นซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสม
ผู้ที่มีระดับ BMI ตั้งแต่ 30 ขึ้นไปอาจมีภาวะโรคอ้วน ซึ่งหมายถึงการสะสมของไขมันที่ผิดปกติหรือมากเกินไปซึ่งอาจส่งผลเสียต่อ สุขภาพ ปัจจุบัน องค์กรด้านสุขภาพจํานวนมากยอมรับว่าภาวะโรคอ้วนเป็นโรคเรื้อรังแต่สามารถจัดการได้
องค์การอนามัยโลกและองค์กรด้านสุขภาพอื่น ๆ จําแนกภาวะโรคอ้วนออกเป็นสามกลุ่ม:
การจําแนกประเภทภาวะโรคอ้วน | ดัชนีมวลกาย |
ประเภท I | 25.0–29.9 |
ประเภท II | 30 ขึ้นไป |
ช่วงของค่า BMI จะขึ้นอยู่กับผลกระทบที่ไขมันในร่างกายส่วนเกินมีต่อสุขภาพของแต่ละบุคคล อายุ และความเสี่ยงต่อการเกิดโรค เมื่อค่า BMI เพิ่มขึ้น ความเสี่ยงต่อโรคบางอย่างก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน
แนะนําให้ผู้ที่มีค่า BMI ตั้งแต่ 25 ขึ้นไปให้ ปรึกษาผู้ให้บริการด้านการดูแลสุขภาพที่ได้รับการฝึกอบรมในเรื่องการจัดการภาวะโรคอ้วนเพื่อ วินิจฉัย ประเมินความเสี่ยง และรักษาภาวะโรคอ้วนรวมถึง ภาวะแทรกซ้อนด้านสุขภาพเนื่องจากนํ้าหนักตัว
เป้าหมายของการจัดการและการรักษาภาวะโรคอ้วนไม่ใช่เพียงการลดนํ้าหนักเท่านั้น แต่ยังเป็นการทําให้สุขภาพดีขึ้นและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อน ทางสุขภาพอื่น ๆ ด้วย การลดนํ้าหนักแม้เพียงเล็กน้อย อย่างเช่น นํ้าหนักตัวร้อยละห้าขึ้นไป และรักษานํ้าหนักไม่ดีดกลับขึ้นมาอีก อาจช่วยทำให้สุขภาพโดยรวมดีขึ้นได้ ในขณะเดียวกันก็ลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากนํ้าหนักตัว
มีทางเลือกในการรักษา ภาวะโรคอ้วนที่มีงานวิจัยรองรับจํานวนมากที่อาจจะนำมาแนะนําได้ตามความต้องการของแต่ละบุคคล สภาวะ สุขภาพ และการมีหรือไม่มีภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากนํ้าหนักตัว การรักษาอาจรวมถึงทางเลือกต่อไปนี้รวมกัน**:
* โดยทั่วไปแล้วการผ่าตัดเพื่อรักษาโรคอ้วนจะแนะนำสําหรับ ผู้ที่มี BMI เกินกว่า 32.5 และมีภาวะแทรกซ้อน เนื่องจากนํ้าหนักตัว นอกจากนี้ โดยทั่วไปยังเป็นตัวเลือกสำหรับ ผู้ที่มีค่า BMI ตั้งแต่ 37.5 kg/m2 ขึ้นไป
** ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ: ข้อมูลนี้ไม่สามารถใช้แทนคําแนะนําของผู้ให้บริการทางแพทย์ได้ หากคุณมี คําถามใด ๆ เกี่ยวกับสุขภาพของคุณก็ควรติดต่อแพทย์ ของคุณหรือผู้ให้บริการทางแพทย์ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมท่านอื่น ๆ
ผู้ที่มีระดับ BMI ตั้งแต่ 30 ขึ้นไปอาจมีภาวะโรคอ้วน ซึ่งหมายถึงการสะสมของไขมันที่ผิดปกติหรือมากเกินไปซึ่งอาจส่งผลเสียต่อ สุขภาพ ปัจจุบัน องค์กรด้านสุขภาพจํานวนมากยอมรับว่าภาวะโรคอ้วนเป็นโรคเรื้อรังแต่สามารถจัดการได้
องค์การอนามัยโลกและองค์กรด้านสุขภาพอื่น ๆ จําแนกภาวะโรคอ้วนออกเป็นสามกลุ่ม:
การจําแนกประเภทภาวะโรคอ้วน | ดัชนีมวลกาย |
ประเภท I | 25.0–29.9 |
ประเภท II | 30 ขึ้นไป |
ช่วงของค่า BMI จะขึ้นอยู่กับผลกระทบที่ไขมันในร่างกายส่วนเกินมีต่อสุขภาพของแต่ละบุคคล อายุ และความเสี่ยงต่อการเกิดโรค เมื่อค่า BMI เพิ่มขึ้น ความเสี่ยงต่อโรคบางอย่างก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน
แนะนําให้ผู้ที่มีค่า BMI ตั้งแต่ 25 ขึ้นไปให้ ปรึกษาผู้ให้บริการด้านการดูแลสุขภาพที่ได้รับการฝึกอบรมในเรื่องการจัดการภาวะโรคอ้วนเพื่อ วินิจฉัย ประเมินความเสี่ยง และรักษาภาวะโรคอ้วนรวมถึง ภาวะแทรกซ้อนด้านสุขภาพเนื่องจากนํ้าหนักตัว
เป้าหมายของการจัดการและการรักษาภาวะโรคอ้วนไม่ใช่เพียงการลดนํ้าหนักเท่านั้น แต่ยังเป็นการทําให้สุขภาพดีขึ้นและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อน ทางสุขภาพอื่น ๆ ด้วย การลดนํ้าหนักแม้เพียงเล็กน้อย อย่างเช่น นํ้าหนักตัวร้อยละห้าขึ้นไป และรักษานํ้าหนักไม่ดีดกลับขึ้นมาอีก อาจช่วยทำให้สุขภาพโดยรวมดีขึ้นได้ ในขณะเดียวกันก็ลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากนํ้าหนักตัว
มีทางเลือกในการรักษา ภาวะโรคอ้วนที่มีงานวิจัยรองรับจํานวนมากที่อาจจะนำมาแนะนําได้ตามความต้องการของแต่ละบุคคล สภาวะ สุขภาพ และการมีหรือไม่มีภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากนํ้าหนักตัว การรักษาอาจรวมถึงทางเลือกต่อไปนี้รวมกัน**:
* โดยทั่วไปแล้วการผ่าตัดเพื่อรักษาโรคอ้วนจะแนะนำสําหรับ ผู้ที่มี BMI เกินกว่า 32.5 และมีภาวะแทรกซ้อน เนื่องจากนํ้าหนักตัว นอกจากนี้ โดยทั่วไปยังเป็นตัวเลือกสำหรับ ผู้ที่มีค่า BMI ตั้งแต่ 37.5 kg/m2 ขึ้นไป
** ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ: ข้อมูลนี้ไม่สามารถใช้แทนคําแนะนําของผู้ให้บริการทางแพทย์ได้ หากคุณมี คําถามใด ๆ เกี่ยวกับสุขภาพของคุณก็ควรติดต่อแพทย์ ของคุณหรือผู้ให้บริการทางแพทย์ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมท่านอื่น ๆ
The site you are entering is not the property of, nor managed by, Novo Nordisk. Novo Nordisk assumes no responsibility for the content of sites not managed by Novo Nordisk. Furthermore, Novo Nordisk is not responsible for, nor does it have control over, the privacy policies of these sites.